‘การที่เราได้ไปดูแลคนไข้ที่ห่างไกลจริงๆ แล้วเค้าไม่มีโอกาสรักษาเลย…เป็นความรู้สึกที่ดี เป็นความรู้สึกประทับใจ’

เส้นทางของแพทย์ส่วนใหญ่ ที่ใครๆ คิดว่า “โปรยด้วยกลีบกุหลาบ” แต่จริงๆแล้วก็อาจไม่ได้ราบเรี
“งานจิตอาสาในพื้นที่ต่างจังหวั
ศ.คลินิก นพ.อดุลย์ ได้รับการยอมรับอย่างกว้
เหรียญย่อมมีสองด้านเสมอ…แม้
ในขณะที่แพทย์ส่วนมากกำลังเดิ

“ผมก็เหมือนหมอทั่วไป เรียนแพทย์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2523 จบพ.ศ. 2529 ใช้ทุนคือไปประจำที่โรงพยาบาลต่
จุดเปลี่ยนครั้งแรกในชีวิ
“ตอนผมประจำอยู่โรงพยาบาลเชี

เมื่อใช้ทุนเสร็จแล้ว ศ.คลินิก นพ.อดุลย์ ก็กลับมาเรียนศัลยแพทย์ต่อ ระหว่างที่เรียนอยู่ปีสุดท้ายนั้
ขณะนั้นในหลวงรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระราชินี ท่านจะเสด็จฯแปรพระราชฐานปีละ 3-4 รอบ และทุกปีในเดือนมกราคม ท่านจะเสด็จฯไปที่จังหวัดเชี
ศ.คลินิก นพ.อดุลย์ เล่าถึงช่วงนี้อาจทำให้
“เราไปอยู่ที่นั่นสองอาทิตย์ดู
ศ.คลินิก นพ.อดุลย์ กลับมาเป็นอาจารย์แพทย์ที่ รพ.ศิริราช โชคดีอีกที่ได้รู้จัก นพ.ยุทธ โพธารามิก ซึ่งปัจจุบันเป็น เลขาธิการ พอ.สว.“วันนึงท่านก็มาชวน อดุลย์ แข็งแรงมั้ย ไปออกหน่วยกัน ที่อมก๋อย เชียงใหม่”
คุณหมอบอกว่า หน่วยแพทย์นี้จะแตกต่างจาก “พอ.สว.ปกติ” ที่เอารถโฟร์วีลเข้าไปได้ แต่อันนี้เราเรียกว่า “แพทย์เดินเท้าพอ.สว.”จังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน เป็นไปตามพระราชปณิธานสมเด็จย่า ท่านทราบว่าคนไข้ที่อยู่ตามดอย เวลาเจ็บป่วยหน้าฝน เค้าเดินทางออกมายากมาก บางทีใช้เวลาสามวัน บางคนตายระหว่างทาง บางคนไม่มาเลย
“ปีที่ผมไปเป็นการออกหน่วยครั้
เมื่อจังหวะชีวิตต้องก้าวขึ้นสู่
หนึ่งในนั้นคือกลุ่มเพื่อนหมอที่
“แพทย์คนสุดท้ายท่านร่วมสู้กั

กระทั่งวัน นึงโชคดีมากปรากฎว่ามีแพทย์รุ่
“ผมบอกว่าพี่ขาดอะไรบอกเลยนะยิ
เมื่อทีมแพทย์ฝึกหัดซึ่งรพ.
ด้วยความเป็นแพทย์ที่มีจิ
“เราบอกว่าถ้าผ่าตัดแบบนี้ต้
ปัจจุบัน หากใครมีความต้องการสนับสนุ
แน่นอนว่า การออกตรวจในพื้นที่ต่างจังหวั
และเล่มที่สองออกเมื่อเดือนมี
ทั้งหมดได้นำเงินรายได้มาเป็น “กองกลาง” ในกิจกรรมสาธารณะช่วยเหลือจิ